การเรียนรู้ในโลกยุคใหม่เปลี่ยนไปแล้ว ความรู้แบบเดิมที่มีผู้หยิบยื่นให้ไม่สามารถตอบโจทย์ชีวิตได้ทันท่วงที นักเรียนรู้ต้องแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างมีวิจารณญาณ (ระวังกับดักความรู้ลวง)
วันจันทร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558
วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2558
การถ่ายภาพ
1. ปริมาณแสง
2. องค์ประกอบ และทิศทางแสง
3. อารมณ์ภาพ และการสื่อความหมาย
อย่าลืมนะครับ
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=Xi9guLcTBdU
: http://www.siamfreestyle.com/forum/index.php?showtopic=895
การทำหนังสั้น
เทคนิควิธีการสร้างหนังสั้นแต่ง่าย ๆ
ขั้นแรก หาองค์ประกอบด้านวิธีการ คือ หลักการ การวางแผน การถ่ายทำ การตัดต่อ การประเมินผล
ขึ้นสอง
หาองค์ประกอบด้านบุคลากร คือ บุคลากรในหน้าที่ต่างๆตั้งแต่ ตัวละคร
บุคคลทางเทคนิค รวมไปถึง ผู้มีความสารถเฉพาะครับ จะดีมากๆ
และอีกอย่างคือทีมเวิคครับ
ขั้นสาม เตรียมการผลิต คือ วางแผน เตรียมสถานที่ บท อุปกรณ์ ให้ครบ
ขั้นสี่ บทหนัง คือ วางบท คำพูด ระยะเวลาสถานที่ เรื่องราว ที่จะสื่อออกมา
เรื่องบทจะมี หลายแบบ
- บทแบบสมบูรณ์ ประมาณว่า เก็บทุกรายละเอียดทุกคำพูดอ่ะครับ
- บทแบบอย่างย่อ ประมาณว่า เปิดกว้างๆให้ผู้ชมสังเกตในความเข้าใจของตนเอง
- บทแบบเฉพาะ (ไม่จำเป็นหรอก)
- บทแบบร่างกำหนด (ไม่จำเป็นอีกแหละ)
เรื่องบทจะมี หลายแบบ
- บทแบบสมบูรณ์ ประมาณว่า เก็บทุกรายละเอียดทุกคำพูดอ่ะครับ
- บทแบบอย่างย่อ ประมาณว่า เปิดกว้างๆให้ผู้ชมสังเกตในความเข้าใจของตนเอง
- บทแบบเฉพาะ (ไม่จำเป็นหรอก)
- บทแบบร่างกำหนด (ไม่จำเป็นอีกแหละ)
ขั้นห้า การผลิต
อย่างแรกเลย แต่ละฉากคุณต้องเลือกมุมกล้องให้เหมาะสม กับสภาพอากาศ
ขนาดวัตถุ ว่าควรเห็นแค่ไหน ขนาดมุมกล้องมีหลายแบบนะเยอะมาก
ผมพูดรวมๆละกัน มีแบบ ระยะไกลมาก ระยะไกล ระยะปานกลาง ระยะใกล้
(รายละเอียดท่าสนใจเข้ามาคุยนะครับ)
ขั้นหก ค้นหามุมกล้อง
- มุมคนดู ประมาณว่า เป็นมุมถ่ายจากรอบนอกของฉากนั้นๆอ่ะครับ เหมือนผู้ชมเป็นคนสังเกตฉากนั้นๆ
- มุมแทนสายตา ไม่ต้องอธิบายมั้ง
- มุมพ้อยออฟวิว มุมนี้แนะนำให้ใช้เยอะๆครับ สวยมากมุมนี้ในการทำหนัง เป็นมุมที่ใกล้ชิดเหตุการณ์ครับ เช่น การถ่ายข้ามไหล่ของตัวละคร หรือวัตถุ ครับ
- มุมคนดู ประมาณว่า เป็นมุมถ่ายจากรอบนอกของฉากนั้นๆอ่ะครับ เหมือนผู้ชมเป็นคนสังเกตฉากนั้นๆ
- มุมแทนสายตา ไม่ต้องอธิบายมั้ง
- มุมพ้อยออฟวิว มุมนี้แนะนำให้ใช้เยอะๆครับ สวยมากมุมนี้ในการทำหนัง เป็นมุมที่ใกล้ชิดเหตุการณ์ครับ เช่น การถ่ายข้ามไหล่ของตัวละคร หรือวัตถุ ครับ
ขั้นเจ็ด การเคลื่อนไหวของกล้อง (พูดรวมๆนะถ้าจะเอาละเอียดเข้ามาคุยกัน)
- การแพน การทิลท์ ประมาณว่า การทำเคลื่อนไหวกล้องให้เห็นตำแหน่งวัตถนั้นสัมพันกันครับ
- การดอลลี่ การติดตามการเคลื่อนไหวเลยครับ
- การซูม เป็นการเปลียนองค์ประกอบภาพครับ เหมือนเน้ความสนใจในจุดๆหนึ่ง
- การแพน การทิลท์ ประมาณว่า การทำเคลื่อนไหวกล้องให้เห็นตำแหน่งวัตถนั้นสัมพันกันครับ
- การดอลลี่ การติดตามการเคลื่อนไหวเลยครับ
- การซูม เป็นการเปลียนองค์ประกอบภาพครับ เหมือนเน้ความสนใจในจุดๆหนึ่ง
ขั้นแปด เทคนิคการถ่าย (เออผมจะอธิบายไงดีเนี้ยมันเยอะมากอ่ะครับ)
เอาเป็นว่าจับกล้องให้มั่นอ่ะครับ อย่างผมก็จะจับ แบบกระชับกับตัวเลย คือแขนทั้งสองข้างแนบตัวเลยครับ และก็ไม่แนะนำให้เคลื่อนไหวกล้องแบบรวดเร็วนะครับ กล้องจะปรับโฟกัสไม่ทัน ทำให้ภาพเบลอครับ
ถ้าอยากทราบเทคนิคการถ่ายแบบละเอียดก็ เข้ามาถามละกันนะครับ ผมต้องใช้ประสปการณ์ตรงอธิบายอ่ะ
ขั้นเก้า หลังการผลิต ก็ต้องตัดต่อ เพิ่มเสียง เอฟเฟค ความคมชัด ความเด่นชัดเรื่อง อักษรหนังสือ
ขั้นสิบ การตัดต่อ (เยอะมากครับอธิบายรวมๆละกัน)อย่างแรกเลยครับจัดลำดับภาพ และเวลาให้ตรงและเหมาะสม อันไหนเกินยาวก็ให้ตัดทิ้งครับอย่าให้ขัดอารณ์
อย่างสองคือจัดภาพให้เหมาะสม เนื้อหาและโครงเรื่องที่เราวางไว้ครับ
อย่างสามแก้ไขข้อบกพร่องครับ
อย่างสี่ เพิ่มทคนิคให้ดูสวยงาม(เดียวจะอธิบาย)
อย่างห้า เรื่องเสียง(เดียวจะอธิบาย)
เอาละครับขั้นการตัดต่อและมาดูละกันการตัดต่อเชื่อมฉากมีอะไรบ้าง
- การตัด cut
- การเฟด fade
- การทำภาพจางซ้อน
- การกวาดภาพ
- ซ้อนภาพ
- ภาพมองทาจ
- การเฟด fade
- การทำภาพจางซ้อน
- การกวาดภาพ
- ซ้อนภาพ
- ภาพมองทาจ
โปรแกรมที่จะนำมาใช้ ผมแนะนำดังต่อไปนี้นะครับ
1. movie maker (Xp ก็มีมาให้แล้ว) ตัดต่อเบื้องต้นครับ ตัวเชื่อมเฟรมค่อนข้างน้อย ไม่แนะนำนะครับ2. Sony vegas 7.0 ค่อยดีขึ้นมาหน่อย การทำงานค่อนข้างละเอียดครับ มีลุกเล่นเยอะมากมาย(แนะนำสำหรับมือใหม่ครับ)
3. adobe premiere pro CS6 มีการตัดต่อค่อนข้างละเอียดอ่อนมากๆครับใช้งานยากแต่ ถ้าใช้เป็นสามารถสร้างหนังได้ใหญ่ๆเรื่องนึงเลยนะครับ แต่การใช้งานยุ่งยากไม่เหมาะกับมือใหม่
ที่มา : https://sites.google.com/site/khtpshortfilm/thekhnikh-kar-tha-hnang-san/thekhnikh-withi-kar-srang-hnang-san-tae-ngay
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)